Menu
Home
News
Space
N
Market
Forum
Feed
ทั้งหมด
ทั่วไป
เกม
อนิเม / มังงะ
ซื้อขาย
บทสรุป
แจ้งปัญหา
[--mobilemenu--]
เข้าสู่ระบบ
สมัครสมาชิก
ขอลิ้งยืนยันใหม่
ลืมรหัส
บราวเซอร์ของท่านไม่สนับสนุนหรือปิดการใช้งาน javascript ซึ่งจะไม่สามารถใช้งานไซต์บางส่วนเช่นการเข้าลิ้งค์ หรือโพสข้อความได้ตามปกติ, กรุณาเปิดการใช้งาน javascript เพื่อที่จะใช้งานเว็บ gconhubม หากมีปัญหาในการใช้งาน หรือต้องการสอบถามเพิ่มเติม กรุณาติดต่อ
[email protected]
หรือ
[email protected]
ทั้งหมด
>
เกม
โปรดิวเซอร์ God Eater, Sword Art Online, และ Tales of นั่งจับเข่าคุยถึงปัจจุบันอนาคตเกม JRPG
#JRPG
#Bandai Namco
Tweet
Reply
Vote
#
Thu 7 Jul 2016 : 12:03PM
Thoppy Yoh!
member
Since 23/1/2010
(856 post)
เห็นด้วยกับหลายๆท่านเป็นแฟนJRPGตั้งแต่เด็กแต่ปัจจุบันไม่ค่อยได้แตะเลย ขนาดซีรียโปรดอย่างSO5ผมก็ยังไม่เล่น
สำหรับผมผมว่าJRPGขาดความรู้สึกที่ว่าเป็นเกมฟอร์มยักษ์ ภาพช่วยทำให้มันดีหน่อยได้มั้ยและที่ผมว่าเซ็งสุดๆช่วยทำเกมแบบไม่งกได้มั้ย บางเกมเอนจิ้นเดียวล่อไป4-5ภาคมอนก็รียูส แล้วหลังๆJRPGผมเล่นได้ไม่นานเลยมันซ้ำซากอะเบื่อฟาร์มของ
ดูอย่างWITCHER3ก็ได้เกมยาวก็จริงแต่ไม่เบื่อเลย แต่ที่สำคัญสุดเลยนะผมรู้สึกว่าหลังๆฝั่งJRPGทำเกมไม่ประณีตเอาซะเลย
ง่ายๆมักง่ายนั่นแหละ จากนิสัยคนญี่ปุ่นผมก็ไม่ค่อยคิดหรอกว่าคนประเทศเขาทำเกมค่อนข้างมักง่ายแต่พอได้มาเล่นWRPGเกมพวกเขาโคตรละเอียดใส่ใจมากไม่ได้สนุกแค่เกมเพลย์แต่สนุกด้วยระบบเกือบทุกอย่าง บางเกมแค่เดินเล่นถ่ายรูปก็สนุกแล้ว
อีกข้อผมว่าJRPGอิงเกมภาคต่อเกินไปไม่กล้าทำอะไรใหม่ๆเลย ยิ่งเกมภาคต่อก็ไม่กล้าเปลีย่นอะไรมากมันเลยทำให้เหมือนฝั่งนี้ไม่พัฒนามาหลายปีแล้ว
Like
: ramen2
Reply
Vote
Related Thread
เทรลเลอร์เตรียมรับวันวางจำหน่าย Tekken 8
ข้อมูลใหม่ Metaphor: ReFantazio ปล่อยข้อมูลรายละเอียดโลกทัศน์ เนื้อเรื่อง และตัวละครในเกม
เหล่าฮาร์ดคอร์จงร่ำร้อง Armored Core VI: Fires of Rubicon ขาย 25 ส.ค. นี้
เกมเพลย์ Lili จาก Tekken 8
Elden Ring ยอดทะลุ 20 ล้านแล้ว
Popular Thread
ประกาศ Danmachi ss5
Like a Dragon Gaiden: The Man Who Erased His Name คะแนนรีวิว
ยังอยากหากินกับบุญเก่าเหมือนเดิม Blizzard เผย มีความคิดจะนำ World of Warcraft ลงเครื่องเกมคอนโซล
KOF XV DLC|HINAKO SHIJO|Trailer
4 online users
Logged In :
member
Since 23/1/2010
(856 post)